วันเสาร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ระบบ Asterisk คืออะไร และทำงานอย่างไร

Asterisk คือ opensource software ที่ทำหน้าที่หลักเป็น Softswitch, IP-PBX หรือที่เรียกว่าตู้ชุมสายโทรศัพท์ระบบ IP ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมและจัดการบริหาร การเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์โทรศัพท์ผ่านเครื่องข่ายเนทเวอร์ค อีกทั้งยังสามรถเพิ่มเติมประสิทธิ์ภาพและความสามารถในการทำงานได้โดยง่าย

ความสามารถของ Asterisk

1. Switch (PBX) ตู้ชุมสาย

Asterisk สามารถทำหน้าเป็นอุปกรณ์สลับสายโทรศัพท์ไม่ว่าจะเป็นระบบ IP หรือ hybridge, สามรถทำการตั้งค่าเส้นทางการของการโทรศัพท์โดยตัวเอง, สามารถเพิ่มเติม feature ได้เช่น (ระบบ Voicemail, IVR), รองรับการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐานไม่ว่าจะเป็นแบบ analog หรือ digital (ISDN)

2. Gateway

สามารถทำหน้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่าระบบโทรศัพท์พื้นฐานกับ ระบบ VoIP

3. Feature & Media Server

อีกความสามารถของ Asterisk คือสามารถทำเป็น ระบบตอบรับหรือระบบการประชุมทางโทรศัพท์ เพื่อให้ทำงานเข้ากับระบบโทรศัพท์ที่มีอยู่เดิม ได้อีกด้วย

ตัวอย่างการ implementation เช่น สามารถทำเป็น IVR หรือระบบตอบรับ ให้กับตู้ชุมสาย (pabx) เดิมที่ไม่มีระบบตอบรับ

4. Call Center

รองรับการทำงานของระบบ Call-Center อย่างเต็มรูปแบบ เช่น ACD, Queue, IVR, Skill-based routing, etc.

ระบบที่จำเป็นต่อ Asterisk

1. OS ระบบปฎิบัติการ

Linux, OpenBSD, FreeBSD, MAC OS X

2 PC Hardware อาจเป็นเครื่อง PC หรือ Server ที่สามารถลงระบบปฏิบัติการ linux ได้

2.1 การ์ดสายนอกเพื่อเชื่อมต่อกับสายโทรศัพท์ทั้งระบบ Digital หรือ Analog มีทั้งที่ติดตั้งภายในเครื่อง หรือ ผ่าน USB Port นอกเครื่อง Server

2.2 เครื่อง Server

Protocol ที่ Asterisk รองรับ

H.323, Session Initiation Protocol (SIP), Media Gateway Control Protocol (MGCP), and Skinny Client Control Protocol (SCCP) และ Inter-Asterisk eXchange (IAX™)

Features ที Asterisk รองรับ

Call features

ADSI On-Screen Menu System

Alarm Receiver

Append Message

Authentication

Automated Attendant (ระบบตอบรับอัตโนมัติ)

Blacklists (การทำ backlist ใช้ในการ filter ผู้ใช้งานโทรศัพท์ที่โทรเข้าได้)

Blind Transfer (การโอนสายแบบโอนขาด หรือ โอนโดยไม่ถามผู้ที่เราจะโอนไปหาก่อน)

Call Detail Records (การจัดเก็บข้อมูลการโทรศัพท์ในระบบโดยระเอียด)

Call Forward on Busy (การโอนสายไปยังผู้อื่นในกรณ์ที่สายนั้นๆไม่ ว่าง)

Call Forward on No Answer (การโอนสายไปยังผู้อื่นในกรณ์ที่สายนั้นๆ ไม่รับสาย)

Call Forward Variable

Call Monitoring (การดู status (ipaddress,ping time) ของ Client ที่เชื่อมต่อมายังระบบ)

Call Parking

Call Queuing

Call Recording

Call Retrieval

Call Routing (DID & ANI)

Call Snooping

Call Transfer

Call Waiting

Caller ID

Caller ID Blocking

Caller ID on Call Waiting

Calling Cards

Conference Bridging

Database Store / Retrieve

Database Integration

Dial by Name

Direct Inward System Access

Distinctive Ring

Distributed Universal Number Discovery (DUNDi™)

Do Not Disturb

E911

ENUM

Fax Transmit and Receive (3rd Party OSS Package)

Flexible Extension Logic

Interactive Directory Listing

Interactive Voice Response (IVR)

Local and Remote Call Agents

Macros

Music On Hold

Music On Transfer:

- Flexible Mp3-based System

- Random or Linear Play

- Volume Control

Predictive Dialer

Privacy

Open Settlement Protocol (OSP)

Overhead Paging

Protocol Conversion

Remote Call Pickup

Remote Office Support

Roaming Extensions

Route by Caller ID

SMS Messaging

Spell / Say

Streaming Media Access

Supervised Transfer

Talk Detection

Text-to-Speech (via Festival)

Three-way Calling

Time and Date

Transcoding

Trunking

VoIP Gateways

Voicemail:

- Visual Indicator for Message Waiting

- Stutter Dialtone for Message Waiting

- Voicemail to email

- Voicemail Groups

- Web Voicemail Interface

Zapateller

Computer-Telephony Integration

AGI (Asterisk Gateway Interface)

Graphical Call Manager

Outbound Call Spooling

Predictive Dialer

TCP/IP Management Interface

Scalability

TDMoE (Time Division Multiplex over Ethernet)

Allows direct connection of Asterisk PBX

Zero latency

Uses commodity Ethernet hardware

Voice-over IP

Allows for integration of physically separate installations

Uses commonly deployed data connections

Allows a unified dialplan across multiple offices

Codecs

ADPCM

G.711 (A-Law & μ-Law)

G.722

G.723.1 (pass through)

G.726

G.729 (through purchase of a commercial license)

GSM

iLBC

Linear

LPC-10

Speex


Protocols

IAX™ (Inter-Asterisk Exchange)

H.323

SIP (Session Initiation Protocol)

MGCP (Media Gateway Control Protocol

SCCP (Cisco® Skinny®)


Traditional Telephony Interoperability

E&M

E&M Wink

Feature Group D

FXS

FXO

GR-303

Loopstart

Groundstart

Kewlstart

MF and DTMF support

Robbed-bit Signaling (RBS) Types

MFC-R2 (Not supported. However, a patch is available


PRI Protocols

4ESS

BRI (ISDN4Linux)

DMS100

EuroISDN

Lucent 5E

National ISDN2

NFAS

การทำงานของ Asterisk

อย่างที่รู้กันแล้วว่า Asterisk เป็น software ตัวหนึ่งที่ทำหน้าที่หลักในการควบคุมระบบโทรศัพท์ ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว Asterisk จะสามารถทำงานบน Linux OS, FressBSD (not officially support by digium) ซึ่งในการทำงาน ของ Asterisk ผู้ใช้งานจำเป็นต้องสามารถที่จะเข้าใจการทำงาน และ ตั้งค่าต่างๆของ Asterisk ได้

Asterisk เป็น software ที่ทำงานเป็น daemon หรือ เป็น Process หนึ่งที่ทำงานอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยการตั้งค่าของ Asterisk เพิ่มที่จะทำให้ ระบบทำงานได้ หรือ เป็นไปตามที่ผู้ใช้งานต้องการนั้น มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ

1. แบบ .conf ไฟล์ ซึ่งการตั้งค่าแบบนี้ใช้งานกันอยู่อย่างแพร่หลายไม่ว่าจะเป็น การตั้งโดยผ่าน Web-Interface เช่น FreePBX, โดย ไฟล์ที่เขียนลงไปในระบบจะทำหน้าที่ในการบอกให้ Asterisk ทำงานอย่างที่เราต้องการ

2. แบบ database, เป็นอีกลักษณะในการตั้งค่าบางประเภทของ Asterisk โดยการตั้งค่าลักษณะนี้มีข้อดีในการที่เราสามารถที่จะปรับเปลี่ยนค่าได้ ทันที โดยไม่จำเป็นต้อง สั่งให้ Asterisk ทำการอ่านค่าจาก file อีก คร้้ง (reload)


โดยหลังจากที่การตั้งค่าต่างๆเสร็จสิ้น Asterisk ก็จะสามารถทำงานได้ทันที โดย ในกรณีที่เป็น ระบบ SIP/IAX/etc. เครื่องลูกข่ายต่างๆก็จะสามารถที่จะเชื่อมต่อเข้ามายังระบบ ผ่านระบบเครือข่าย อนึ่งหากต้องการที่จะให้ Asterisk ทำงานกับ Telephony Hardware เช่น การ์ดสายนอก หรือ กล่องสายนอกต่างๆ ก็ต้องทำการติดตั้งค่าใน Asterisk ด้วย

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]

<< หน้าแรก